.
หอจดหมายเหตุพุทธทาส อินทปัญโญ ขอเรียนเชิญผู้สนใจร่วมสมทบทุนเป็นเจ้าภาพประจำเดือน เพื่อจัดพิมพ์และเผยแผ่ "ธรรมะใกล้มือ" ประจำปี พ.ศ. 2567 - 2568
(หนังสือธรรมของพุทธทาสภิกขุ ที่ได้รับความนิยมอย่างมากในอดีต แต่ไม่ได้รับการตีพิมพ์และเผยแพร่แล้ว)
.
( เริ่มจัดพิมพ์ในเดือนกันยายน 2567 )
รวมทั้งหมดจำนวน 230 กอง : กองละ 3,000 บาท
หรือ ร่วมสมทบทุนได้ตามกำลังทรัพย์ 🙏
👇 รายละเอียดในการดำเนินการ 👇
• ค่าใช้จ่ายเพื่อการจัดพิมพ์หนังสือธรรมะใกล้มือรวมกับภาษีมูลค่าเพิ่ม และค่าดำเนินการร้อยละ 20 คิดเป็นค่าใช้จ่ายประมาณ 672,000 บาท
เปิดรับการสมทบในระบบกองทุนทั้งหมด จำนวน 230 กองทุน กองทุนละ 3,000 บาท หรือตามแต่กำลังทรัพย์
• เจ้าภาพการพิมพ์หนังสือและผู้บริจาค สามารถนำยอดบริจาคไปใช้ในการลดหย่อนภาษีในระบบ E-Donation
• เจ้าภาพการพิมพ์หนังสือสามาถขอรับหนังสือธรรมะใกล้มือได้ไม่เกิน 60 เล่ม ในเดือนที่เป็นเจ้าภาพ และยังมีสิทธิในการขอรับรับหนังสือทั้งหมดตลอดโครงการ จำนวน 2 ชุด (จำนวน ชุดละ 16 เล่ม) ทั้งสำหรับตนเอง และสำหรับคนที่ต้องการแบ่งปันให้
• ภายในหนังสือจะปรากฎรายนามผู้สนับสนุน เป็นเจ้าภาพประจำเดือนในการผลิตหนังสือแต่ละกองเป็นรายเดือน (รายชื่อที่ส่งหลังวันที่ 15 ของทุกเดือน จะปรากฎชื่อในหนังสือเดือนถัดไป)
• หนังสือที่ผลิตส่วนหนึ่ง จะถูกจัดสรรเพื่อเป็นธรรมทานแก่ วัด สถานศึกษา โรงพยาบาล ที่มีความสนใจนำหนังสือธรรมะของพุทธทาสไปศึกษาต่อ (ประสานให้เฉพาะที่ต้องการใช้งานหนังสือจริง)
• รายได้จากการขายหนังสือและรายรับทั้งหมด จะถูกสมทบเพื่อเป็นต้นทุนหมุนเวียนในการผลิตหนังสือธรรมะใกล้มือภายในกองทุน
รายได้ทั้งหมดหลังหักค่าใช้จ่ายในการจัดพิมพ์หนังสือภายในกองทุน จะถูกจัดสรรเพื่อเป็นค่าดำเนินงานของกองทุน เช่น ค่าผลิตของที่ระลึกสำหรับเจ้าภาพกองทุน และค่าจัดส่งหนังสือเพื่อเป็นธรรมทาน เป็นต้น
• รายรับที่เหลือทั้งหมดตลอดโครงการ จะถูกสมทบอเป็นต้นทุนในการดำเนินการของหอจดหมายเหตุพุทธทาส อินทปัญโญ ต่อไป
หมายเหตุ:โปรดอ่านรายละเอียดให้ชัดเจนก่อนตัดสินใจบริจาค ❗️
เลขที่บัญชี 111-2-96295-8
และส่งหลักฐานการโอนเงินพร้อมแจ้งวัตถุประสงค์การบริจาคมาที่อีเมลล์: donate@bia.or.th พร้อมแจ้ง ชื่อ-ที่อยู่-เบอร์โืทร สำหรับจัดส่งใบอนุโมทนา
(ทางมูลนิธิจะส่งใบอนุโมทนาสำหรับใช้เป็นหลักฐาน
ลดหย่อนภาษีให้ในภายหลัง)
.
🌈 ขั้นตอนการบริจาค
A: กรณีมีความประสงค์บริจาคในนามตนเอง 👈
.
B: กรณีมีความประสงค์จะบริจาคในนามผู้อื่น 👈
“ ถ้าใคร่จะรู้ว่าต่างกันอย่างไร ลองแยกเล่มหนังสือออกดู จะเห็นว่ามีอยู่สองอย่าง คือ กระดาดทีใช้พิมพ์กับความรู้ หรือคุณสมบัติ ที่มีอยู่ในหนังสือเล่มนั้น การค้าหนังสือย่มหมายถึงการขายความรู้ ด้วยราคาตามต้องการ พร้อมทั้งขายกระดาด และแรงงานในการทำหนังสือนั้นๆ อย่างคิดกำไร ส่วนการธรรมทาน ย่อมไม่เปนเช่นนั้น ความรู้นั้นให้เปล่าทีเดียว ส่วนกระดาดและค่าไปรสนีย์ หรือ “ ภาชนะที่ใส่ความรู้” นั้น มักต้องขอคืนเช่นเดียวกับภาชนะที่ใส่แกงไปถวายพระที่วัด. ขอคืน เพราะยังต้องใส่ไปถวาย อีกหลายครั้ง! จนกว่าจะถึงครั้งที่สุด. งานธรรมทาน มักถูกเหมาเป็นการค้าหนังสือไป. จงพิจารณาดูด้วยดี ทั้งสองฝ่าย, จะได้เข้าใจกันดี, และร่วมมือกันได้ ”
📍 สอบถามเพิ่มเติมได้ที่ : สโมสรธรรมทาน ห้องหนังสือสวนโมกข์กรุงเทพ
📞 เบอร์โทรศัพท์ : 09-2912-4092
👉 Facebook page: สโมสรธรรมทาน สวนโมกข์กรุงเทพ
👉 Line id : @ted0984v