แม้ "ข้อความถอดเสียงนี้" จะพยายามให้ตรงกับเสียงต้นฉบับมากที่สุด ผู้ศึกษาพึงตรวจสอบกับเสียงธรรมบรรยายต้นฉบับ ก่อนนำข้อมูลไปใช้ในการอ้างอิง [รับข่าวสารทางอีเมล]
ไฟล์ถอดเสียงนี้ยังไม่ได้ผ่านพิสูจน์อักษร นำขึ้นมาเพื่อช่วยในการศึกษาค้นคว้าของผู้สนใจ
ท่านจึงให้รับรู้ให้ถูกต้องคือการรับรู้แบบยนิดียนิร้าย หรือชอบชังนี่เป็นการรับรู้แบบตัณหาหรือมีตัณหาเริ่มแล้วหรือ
สังขารเริ่มแล้ว กับรับรู้ด้วยปัญญารับรู้ด้วยปัญญาก็คือว่า มีสติเข้ามาแล้ว ก็จับอยู่ให้รู้ว่า มันเป็นอะไร แล้วก็ทันมันเข้าใจ
สภาวะของมันแล้วไม่ตกอยู่ใตอ้ำ นาจที่จะไปปรุงแต่ง เป็นความชอบใจไม่ชอบใจคือความชอบใจไม่ชอบใจถือว่า ปรุงแต่ง
แล้ว เป็นอาการของการปรุงแต่ง ที่เรียกว่า สังขารเริ่มด้วยตัณหาอันตัวเวทนารู้สึกสบายไม่ส บายนี่จัดเป็นวิบากคือเปืนกลาง ๆ
แต่อย่าลืมว่าเราจะมีการปรุงแต่ง มันอีกทั้แตร่วมแล้วพูดง่าย ๆ ก็คือเวทนา นี่รู้สึกขึ้นมาก็เป็นผลจากการรับรู้ เป็นต้น ซึ่งอยู่
ที่ว่า เราจะมีปฏิกิริยาอย่างไรต่อมัน แตตั่วมันเองก็ถือว่า เป็นของกลาง
ก็ต้องเข้าใจอันนี้ก่อนเวทนา เป็นของกลางสัญญาก็ถือเป็นของกลางส่วนตัวสังขาร ตัณหาปรุงแต่ง ตัวพวกนี้มีเจตนาเป็น
ตัวนำเจตนาเป็นแกน วันั้นน พูดกันทีแลวั้อันนี้เป็นตัวกรรม่นนแหละที่ว่าเจตนำความจำนงจงใจจะเอายังไง ก็เป็นตัว
แกนี้เป็นหัวหน้าของกระบวนการปรุงแต่งแล้วก็ปรุงแต่งออกมาก็เป็นกรรมใช้ไหม วันั้นน จึงบอกว่า กรรมนี่ถ้ามองดูหยาบ ๆ
ก็คือการกระทำทางกายทางวาจาทางใจแต่ถ้าดูเนื้อหาของมันก็คือสังขาร ถ้าดูหัวหน้าของมันก็คือเจตนา วันั้นน พูดไปที
แลวั้วันนี้ก็มาแยกแยะให้ชัดขึ้นไปอีกทั้เราก็มาพูดให้เห็น ในวันนี้ว่า ที่มันเป็นกรรมก็มาจากตรงสังขาร สังขารก็จะมาเริ่ม
จากนี้แหละ จากปฏิกิริยาต่อ เวทนา
ที่นี้พอคนมีปัญญารู้เข้าใจต่อ สิ่งต่าง ๆ อย่างไร่นีมนพลิกเปลี่ยนสภาพจิตที่ชอบใจไม่ชอบใจได้ก็ยังยกตัวอย่างบ่อย ๆ .. เอ้า
เราเห็น คนหน้าตาย้มิแย้มเราก็สบายใช้ไหม นี่เวทนาเป็นสุข แต่ที่จริงมันเป็นผลจากการปรุงแต่ง ของเราก่อนแล้วนะ คือ
เรามีลึก ๆ อยู่นี่ที่มันมีอิทธิพลครอบงาเราอยู่ คือเราจำหมายไว้ว่าลักษณะอาการอย่างี้นนะเขาชอบใจเราหรือเปืนมิตรต่อ เรา
อนั้นมีันมีอยู่ พอเห็น หน้าตาอย่างนี้เรากรู้ส็กึสบายแต่ตัวเวทนานั้น เป็นผลนะ มันไม่ไดัดช่วของตัวมันเอง มีนอยู่ที่จิตที่
ชอบใจหรือไม่ชอบใจทีนี้พอเราเกิดชอบใจขึ้นมาแล้วต่อมาเราไปเห็น หน้าบึ้งอันที่จริงเราก็มีการกำหนดหมายไวก้อ่นแล้ว
จำไว้ว่าลักษณะอาการหน้าตาอย่างนี้เป็นหน้าตาไม่เป็นมิตร มีความคิด ไม่ดีต่อ เราหรือโกรธ พอไปเห็น หน้าอย่างนี้เราก็ไม่
สบายเราก็ไม่ชอบใจอันนี้ก็เป็นเรื่องคล้าย ๆ ว่ากระบวนการของจิตตามปกต้ที่ไม่มีการพัฒนา มันก็เป็นไปอย่างี้นื้พน ๆ ตาม
ความรู้สึกคล้าย ๆ ว่ารู้สึกอย่างไรก็ปรุงแต่งไปอย่างนั้น กอย่างที่เคยยกตัวอย่างว่าคนที่หน้าบึ้งนี่เขาก็ไม่จำ เป็นจะต้องไม่
ชอบใจเราหรือเปืนปฏิปักษ์หรือเคืองเรา ไม่ใช้อ่ย่างนั้น แต่เขาอาจจะมีทุกขข้องเขาเขาอาจจะถูกพอ่ แม่ดุเขาอาจจะไม่มีเงิน
ใช้เขามีปัญหาอะไรบางอย่าง
พอปัญญาเริ่มทำงานความทุกขก์ หายความรู้สึกบีบคั้น ไม่มีแล้ว พอปัญญาทำงานจิตมันเดิน มันหลุดพ้น มันไม่ถูกบีบคั้น
ออ้ ..นี่เขาอาจจะเป็นอย่างนี้ทำไงจะรู้ว่า เขาเป็นยังไง ตอนนี้เริ่มมีแนวโน้มของจิตในทางที่จะเห็น ใจเข้าใจ ความเข้าใจ
เห็น ใจจะมาด้วยกัน ..นี่ไปถามเขาหน่อยิ้สถ้าได้โอกาส ถ้าไม่ได้กร็อไวก้อ่นเขาอาจจะมีปัญหา .. จิตใจก็เผื่อไปในทาง
คุณธรรม ถ้ามโอกาสเราจะถาม ถ้าเรารู้ว่า เขามีปัญหาอะไรจะไปปลอบใจเขา ถ้ามีทางช่วยได้กจะช่วย..อย่างนี้ เป็นต้น จิตใจ
ก็หายบีบคั้น หายทุกข์เพราะปัญญามันทำงาน..อันนี้ก็เป็นเรื่องของชีวิตจิตใจของเราที่มันทำงานก็อยู่ในขันธ์ ๕ ทั้งนัน
ทั้งหมดที่พูดมานี่ก็มีแค่ว่า ได้เห็น ได้ยินได้กลิ่นรู้ก็ให้วิญญาณมาทำงาน..แล้วก็มีความรู้สึกสบายไม่สบายเฉย ๆ นี่ก็
เวทนา ..แล้วก็มีการกำหนดหมายเป็นั่นนี้เป็นนี่แม้แต่ว่า สัญญาเชิงซอ้นที่กำหนดกันแล้วว่าเป็นคน เป็นสัตว์เป็นหน้าบึ้ง
หน้าย้มิแสดงว่า ชอบใจไม่ชอบใจอย่างนั้น สวยอย่างนี้ไม่สวยอันนี้ก็เป็นการที่ว่า มันปรุงแต่ง ไปทีแล้วแล้วก็ไปเห็นอย่าง
นั้น ก็เกิดปฏิกิริยา เกิดผลขึ้นมาขั้น หนึ่งเลย เรียกว่า ผลที่มันมาจากการปรุงแต่ง เก่าแต่ว่าตัวผลอย่างเวทนานี่ไม่ได้ถือวา
ดี้รายต้องเข้าใจน่กี่อนทีนี้ก็พอได้เวทนาเป็นสุขก็ชอบใจ พอชอบใจก็สังขารเกิด พอชอบใจก็ยิ่งกำหนดหมายไปใหญ่
กำหนดหมายไว้สังขารปรุงแต่ง สัญญาไว้ให้สัญญาเป็นรูปเป็นร่างเป็นอย่างนี้ ๆ ที่เราชอบใจ พอไปเจออย่างนั้นอีกก็เป็นสุข
อีก ก็กำหนดหมายเป็นอย่างนี้กระบวนการของชีวิตก็ดำเนินไปและขันธ์ ๕ ก็มีตลอดเวลาแล้วก็เป็นปัจจัยของกันและกัน
ที่นี้กอย่างที่ว่า ไว้ว่า เวทนา นี่มีอิทธิพลมาก โดยที่ว่า ทั้ง ๆ ที่เป็นของกลาง ๆ ไม่ดีไม่ชั่วแต่เพราะวา เราจะมีปฏิกิริยา คือ
สังขาร ที่มีตัวปรุงแต่ง สังขารี่นีมเยอะเป็นตัวเครื่องปรุงเหมือนกับแกง มีเปรี้ยว หวาน มัน เค็ม มีโลภะความอยากได้มี
โทสะความคิด ประทุษร้ายชังไม่ช อบใจ มีอิสสาความริษยา มีอะไรเยอะแยะไปหมดที่เป็นฝ่ายไม่ดีแต่ฝ่ายดีก็มีมีเมตตา มี
กรุณา มีศรัทธา มีกตัญกตเวทีอะไรต่าง ๆเหล่า นี้คุณสมบัติฝ่ายดีฝ่ายร้ายพวกี้นมาปรุงแต่ง จิต แล้ว ก็เลยเป็นเรื่องการ
ดำเนินชีวิต เป็นไป ออกมาเป็นกรรมเป็นการกระทำ ของมนุษย์วนเวียนกันไป ออกมาสูสั่งคมมีความสัมพันธ์ต อ่ กัน ก็ตกลง
ว่า เข้าใจ ชีวิต แล้ว ว่า มันก็ม่อยางนี้
พระ : มีคำ ถามครับ
สมเด็จ ฯ : นิมนตค์ รับ
พระ : เป็นคำ ถามเกี่ยวกับเรื่องคำ จำ กัดความคำ ว่า จิต สติความรู้สึกและความคิด มีความคล้ายกัน หรือต่างกันอย่างไรของ
ขันธ์ ๕ นี้ครับ
สมเด็จฯ : อันนี้เวลาเราใช้คำ เราจะต้องมีเครื่องกำหนดหมายเพื่อรู้ร่วมกัน มีบางท่านก็ไปบัญญัติศัพท์ข้องตัวเองขนใหม่
เดียวนี้จะมีปัญหาเรื่องนี้เยอะอันนี้ยิ่ง ภาษาไทยด้วยยิ่งมีปัญหาเยอะเลย เราจึงต้องพยายามให้รู้ศัพทก์ ลางไว้เพราะพวกนี้
มันเป็นเรื่องของการบัญญัติแต่ว่า มันมีสภาวะของมันอยู่ เวลามนุษย์จ์ ะสื่อ สารก็ต้องมาบัญญัติเช่น เป็นศัพท์ขึ้นมา พอเปืน
ถ้อยคำสำหรับสื่อสารและให้รู้ว่า ศัพท์นี้สำหรับสื่อ ไปถึงสภาวะอันนี้ก็ต้องมีการทำความเข้าใจรวมกันก่อนว่าศัพท์น์่นะหรือ
บัญญัตินี้สื่อ ให้รู้หมายถึงสภาวะนี้จึงต้องมีการพูดจาทำความเข้าใจเพื่อจะให้อยู่ร่วมกันและเวลาศึกษาเล่าเรียนจะได้พูด
แล้ว สื่อ ไปที่สภาวะอันเดียว ปัญหาก็คือวา เมื่อบางทานอาจจะไปเกิดประสบการณ์ส่วนตัวขึ้นมาแล้วก็เรียกโด่ยีทยังไม่ได้
ตกลงกันทำความเข้าใจให้ตรงกับความหมายที่รู้ร่วมกั้นี้เป็นหลักใหญ่ ก็ไปเรียกอย่างอื่นขึ้นมาแล้วก็มาขัดกัน ก็เกิดปัญหา
พูดกันไม่รู้เรื่อง นี่แหละอย่างในการศึกษาพุทธศาสนาก็เลยต้องเรียนปริยัติแม้แต่ในความหมายนี้เพื่อประโยชน์นี้ด้วยก็คือ
เพื่อให้คำที่ใช้สื่อไปสสู่ภาวะอันเดียวกัน ให้รู้เข้าใจความหมายของศัพท์อย่างเช่นขันธ์ ๕ ก็ให้รู้ว่า เวทนาหมายถึงอันนี้
สัญญาหมายถึงอันนี้สังขารหมายถึงอันนี้วิญญาณหมายถึงอันนี้
ที่นีคำว่า'จิต' เราก็ต้องรู้ว่า แม้แตศั่พทธ์ รรมะเอง ก็มีความหมายที่ใช้แบบหลวม ๆ กับความหมายที่ใช้เคร่งคัรดอย่างคร่าวที่
แล้ว ก็พูด ศัพท์แบบนี้มเยอะเช่นคราวที่แล้ว มีองค์ไหนถามคำว่า'ทฎิฐิ' คำว่าทฎิฐินี่ก็แปลธรรมดาว่า ความเห็น ความเห็น
ถูกก็เป็นสัมมาทฏิฐิความเห็น ผิดก็เป็นมิจฉาทิฐิแต่อย่าลืมว่าเวลาใช้โดด ๆ ท่านหมายถึงในทางไม่ดีก็ให้รู้กันไวก้อ่นพอ
เห็น คำว่าทฎิฐิตัวเดียวให้เข้าใจไวก้อ่นว่าหมายถึง ความยึดถือในความเห็น ของตน ซึ่งมีความหมายทางปิดกั้น และทำให้ขัด
ขวางปัญญา ก็ใช้ในทางที่มีความหมายเิงไม่ดีหรืออย่างคำว่า 'ฉันทะ' ถ้าเป็นกลาง ๆ มีความหมายว่าพอใจเป็นกุศลก็มี
เป็นอกุศลก็มีแต่ถ้าใช้ศัพท์เดียวล้ว น ๆ โดด ๆ ให้เข้าใจกันว่า ใช้ในทางดีเพราะฉะนั้นฉันทะที่ใช้โดด ๆ โดยทั่วไปแล้ว ก็ให้
รู้ว่า หมายถึง กุศลฉันทะ ถ้าใช้เป็นศัพท์ว่ายังไม่แน่ก็ให้เอาตัวข้างหน้ามาเติมเช่นกามฉันทะ พอใจในกามก็เป็นอกุศลไป
อย่างนี้เป็นต้น
ทีนี้ก็มาเรื่องจิตก็เหมือนกัน 'จิต' ในความหมายหลวม ๆ ก็คือเรื่องของฝ่ายนามธรรมที่เราแยกกายกับใจ เพราะฉะนั้น จิตนี่ก็
พูดรวมกันไปหมด พูดถึงเวทนา สัญญา สังขาร วญิ ญาณ ก็คือสภาวะทางนามธรรมที่เราเรียกสมมุติว่า เป็นของคนั้นน คนนี้
คนั้นน จิตดีไม่ดีอะไร แบบนี้เรียกรวม ๆ แตที่นี้เวลาพูดเคร่งครัดนี่ก็ต้องแยกในนามธรรม 4 คือเวทนา สัญญา สังขาร
วญิ ญาณ ก็ให้จิต นี่หมายถึงวญิ ญาณ ส่วนที่เหลือนั้น ให้มีศัพท์เรียกต่างหาก เรียกว่า 'เจตสิก ' เพราะฉะนั้น นักอภิธรรมเขา
ก็จะแยกว่า จิต หมายถึงวญิ ญาณ แล้ว ส่วนอื่นที่ประกอบกับจิตคือเวทนา สัญญา สังขาร ให้ใช้ศัพท์ว่า เจตสิก อย่างนี้
เป็นต้น เราก็ต้องดูว่า ในกรณีนั้น เป็นการใช้แบบหลวม ๆ เช่น พูดกับชาวบ้านอย่างนี้จะไปแยกิจตแยกเจตสิก อยู่อย่างไร ถ้า
จะบอกว่า จิตเขาดีไม่ดอะไรเอ่ย่างนี้นะ อย่างนี้ก็เลยพูดรวม ๆ
ทีนี้พูดถึงเรื่องความรู้สึกก็เป็นศัพท์ภาษาไทยที่มีปัญหา ถ้าอย่างเราแปล 'เวทนา' ว่า ความรู้สึกสบาย/ไม่ส บาย ก็ต้องใสตอ
ไปเลย ถ้ารู้สึกเฉย ๆ ก็เกิดปัญหาอีกใช้ไหม เพราะในภาษาไทยคำ ว่า 'รู้สึก' นี้มันยังไม่ชัดว่า จะหมายถึงอย่างไร แมแตภ่ำษาอังกฤษยังแปล เวทนา เป็น feeling แต่ feeling ภาษาอังกฤษมันก็ยังไม่แน่อีก ว่า อาจจะเป็นเรื่องกุศล/อกุศลก็ได้แต่
feeling ในที่นี้ความรู้สึก'เวทนา' ท่านหมายถึงเฉพาะความรู้สึกสบาย/ไม่ส บาย/เฉย ๆ เพราะฉะนั้น ก็ต้องมาพูดจำ กัดกันว่า
ในเวลาที่เราจะมาสนทนาถกเถียงกันนี่ต้องให้ตกลงกันก่อนว่า มีความเข้าใจในตัวบัญญัติที่สื่อ สภาวะว่า อย่างไร
เมื่อี้กถามถึง 'รู้สึก' กับ 'คิด 'มันชัดถ้าเป็น 'สติ'นี้ชัดสตินี้ก็เป็นตัวที่เราแปลวาระลึก หรือนึก เป็นตัวองคธ์ รรมที่ทำงานอยู่
ฝ่ายจิต นี่ในกรณีนี้เรากำลังแยกเป็นด้านกระบวนภาคปฎิบัติ'การปฏิบัติ' ก็หมายถึง การฝึกตัวเองนั้นเอง--ทำให้ดีขึ้น ตอน
นี้จะก้าวมาและจะทำให้ขันธ์ 5 ทำงานในทางที่ดีตอนนี้ก็จะเอา 'ปัญญา' มาเป็นตัวใหญ่ .. ขอพูดให้ชัดขึ้น คือเวลาเราพูด
ถึงขันธ์ 5 ถามว่าปัญญาอยู่ที่ไหน ตอนนี้จึงจะมาเข้าใจได้ขันธ์ 5 เวทนา สัญญาสังขารวิญญาณแล้วก็มีรูป
แล้ว 'ปัญญา'อยู่ในขันธ์ไหน--สังขาร ปัญญาอยู่ในสังขาร เป็นตัวปรุงเเต่ง ฝ่ายดีแล้ว ก็เป็นตัวแก้การปรุงแต่ง ด้วยปรุงแต่ง
ฝ่ายดีมันก็เป็นสังขาร แต่เวลาเรามาจัดในระบบหรือกี่ระบวนการที่จะปฏิบัติเพื่อฝึกคน เราไม่ใช้ชุ้ดขันธ์ 5 แล้ว เราเปลื่ยน
มาใช้ชุดศีล-สมาธิ-ปัญญาใช้ไหม จะเห็นว่า'ปัญญา'ซึ่งเป็นองค์ประกอบคุณสมบัติอันหนึ่งอยู่ในสังขารขันธ์มาเป็นตัวใหญ่
เด่น แยกไปเป็นด้านหนึ่งเลย เรียกว่า ปัญญา
ศีล -สมาธิ-ปัญญา เวลาเราพูดในขันธ์ 5 นี่สังขารขันธ์บ อกแล้วว่า เป็นด้านปรุงเเต่ง ซึ่งมีเครื่องปรุงเยอะแยะ ทางอภิธรรมจะ
ไปแยกว่า มีเครื่องปรุงอยู่ 50 อย่างและในเครื่องปรุง 50 อย่างี้นัปญญาเป็นเพียงเครื่องปรุงอันเดียวใน 50 นั้นลองคิด ดู
มันเป็นคุณสมบัติอันหนึ่ง ก็เวลาแยกไปมันก็เป็นอันหนังก็พูดแค่อนหึนั่ง แต่เวลามาใช้ในการปฏิบัติเพื่อพัฒนา เพื่อทำให้
ชีวิตดีงามขึ้น เพื่อทำให้ขันธ์ 5 ทำงานในทางที่ดีปัญญามีบทบาทมาก เพราะฉะนั้น ก็เลยเอาปัญญามาตั้งเป็นหัวข้อ ใหญ่เลย
นะ ทั้ง ๆ ที่เป็นตัวเล็ก ๆ ส่วนหนึ่งอยู่ในสังขาร เอามาตั้งเป็นแดนใหญ่แล้วก็ตอนนี้เราจะไม่พูดในแง่แยกแยะแบบขันธ์ 5
แล้ว เราพูดในแง่ของการปฏิบัติมันมาเป็นศีล -สมาธิ-ปัญญา เป็นแดน ๆไปปัญญาก็ไปเป็นตัวใหญ่เป็นเรื่องใหญ่มาก แล้ว
ก็ด้านจิตก็'สมาธิ' นี่มาเป็นตัวฐานรองรับหมดแล้วก็มี'ศีล 'รับสมาธิอีกทั้หนึ่ง
'ศีล ' เปรียบเสมือนผืนแผ่นดินใครจะทำงานนี้ถ้าไม่มีที่ยืน ที่เหยียบยันมันทำงานไม่ได้'สมาธิ' เหมือนเป็นหัวหน้า เป็น
ตัวแทน เป็นที่รองรับสภาพจิตที่ดีในกระบวนการที่จะเดินหน้าไปทั้งหมดเลย เป็นตัวที่จะให้คุณสมบัติที่ดีนี้ตั้งอยู่ได้ถ้าไม่มี
สมาธิแล้ว เหมือนกับว่า พื้นที่เราตั้งโต๊ะนี้มันโคลงเคลงอยู่ จิตของเราไม่พร้อมคุณสมบัติที่จะงอกงามขึ้นมาก็งอกไม่ได้ที่มี
อยู่ก่จะล้มระเนระนาดลง พอมีสมาธินี่จะให้โอกาสคุณสมบัติต่าง ๆในจิตใจเจริญงอกงามและตั้งอยู่ได้สมาธิก็เลยเป็น
ตัวแทนของฝ่ายจิต ตอนนี้เราก็กลายเป็นว่า แยกเป็น
อันนี้ภาคปฏิบัติการเพื่อจะทำ ชีวิต ให้ดีขึ้น ขันธ์ 5 เป็นไปตามสภาวะของมัน นี่เราจะทำ ให้มันดีขึ้น พอมาถึงตอนนี้แล้ว '
ปัญญา' ก็มาเป็นตัวใหญ่ เราก็มาดูบทบาทว่า ในการที่ปัญญาจะทำงานน่ะ มันต้องอาศัยอะไร มันก็จะโยงมาหาแดนของจิตใจ
ปัญญาทำงานที่ไหน เรานี่ต้องการตัวรู้ความรู้--แล้ว ใครรู้ล่ะ ถ้าใช้ภาษาบุคลาธิษฐาน ก็จิตใจรู้สิรู้ที่ไหน อาศัยจิตใจนี่
แหละที่รู้ได้หมายความว่า ปัญญา ต้องอาศัยทำงานโดยจิตใจ ถ้าจิตใจมีสภาพดีปัญญาก็ทำงานได้ผล ยกตัวอย่างเช่น ว่า
จิตใจสงบ จิตใจผ่องใส จิตใจแน่วแน่ ปัญญามันกรู้เห็น เข้าใจชัด แต่ว่า ถ้าจิตใจรุ่มร้อน วุน่วายสับสน อย่างนี้ปัญญามันกรู้
ยาก รผูิ้ดรู้ถูกใช้ไหม ฉะนั้น ปัญญาจะทำงานรู้เข้าใจก็ต้องอาศัยสภาพจิต ตัวสำ คัญที่จะปรับให้สภาพจิตดีก็คือสมาธิ
'สมาธิ' ทำ ให้จิตถึงจุดสำ คัญที่ต้องการที่เรียกว่า ทำ ให้จิตเป็น 'กัมมนิยะ' แปลว่า เหมาะกับการใช้งาน ถ้าหากว่า ไม่มีสมาธิ
จิตก็ไม่เหมาะกับการใช้งาน ฉะนั้น ก็เป็นอันว่า ปัญญาเป็นความรู้อาศัยทำงานในจิต จิตที่จะทำ ให้ปัญญาทำงานได้ดีก็คือจิต
ที่มีสมาธิแต่ว่า ไม่พ อเวลาปัญญาจะพิจารณาอะไรนอกจากภาวะจิตที่มันสงบ แน่วแน่อยู่กับสิ่ง นั้น มันต้องมีตัวหนึ่งที่ไปจับ
ไปเอาสิ่งที่จะพิจารณาแล้ว จะมองเห็น มาให้ไม่มีตัวจับตัวัดึงี่นัมนก็ไม่รู้จะมองอะไร ก็สมาธิก็ส ภาพจิตที่ทำงานดีแล้ว แต่ว่า
อะไร่ที่เราจะพิจารณาจะดูจะเห็น ว่า ทำ ไงจะเห็น ได้นี่แหละตัวที่จะจับ จะดึง จะตรึง เอามาให้ปัญญาดูรู้เห็น นี่เรียกว่า สติ
'สติ' ก็คือตัวที่ท่านแปลวาระลึกก็เพราะอย่างนี้เพราะคำว่าระลึกนั้น เป็นศัพท์นามธรรม เทียบกับรูปธรรมได้แก่ ดึง--ดึง
ตรึงอะไรที่มันจะผ่านไปถ้ามันเลยไปก็ไม่เห็น มันก็ตองอูยตู่อ่หน้าเราจะดูอะไรเหมือนกับตาตานี้เห็น กรู้วา เป็นอะไร ตา
นี่ก็เปรียบเสมือนปัญญา หรือปัญญามันเหมือนลูกตานี้ตาจะเห็นอะไรสิ่ง นั้น ถ้ามันเลยไปผ่านไป มันไม่อยตู่อ่หน้าต่อ ตา
มันก็ไม่เห็น ดูไม่รู้ฉะนั้น มันก็ต้องมีอะไรที่จับดึงตรึงไว้นี่แหละเป็นหน้าที่ของสติสติก็ทำ หน้าที่จับดึงตรึงไว้อะไร่ทีมาแล้ว
มันจะผ่านหายไปสติก็ดึงไว้ก็อ่นดึงไว้พอสติจับไว้ดึงไว้ตาก็เห็น ปัญญาก็เกิด ที่นีบางทีสิ่งที่จะดูต้องการรู้นั่นมันผ่านไป
แล้วเช่นี้เป็นประสบการณ์เก่า ก็กลายเป็นความทรงจำผ่านไปแล้วทำไง เก็อาสติดึงขึ้นมา สติดึงขึ้นมาก็ดูได้เพราะฉะนั้น
สติก็ทำงานคูกับปัญญา สติจับดึงตรึงไว้หรือบางที่เรียกกำหนดก็เหมือนกันแหละกำหนดกับจับดึงตรึงไว้ก็เป็นคำพูดใน
แง่ต่าง ๆ ของการทำงานของสติ๊ก็ทำ ให้ปัญญานี้ได้รู้ได้เห็น ได้เข้าใจได้ตกลงสติ๊ก็สิ่งที่อยู่ปัจจุบันจะเลยไปก็ดึงมันไว้ถ้า
มันเลยไปแล้ว ก็ดึงมันมา ดังนั้น ได้ทั้งดึงไว้และดึงมาก็เลยแปลสิ่ตวา ความระลึก นึกไว้ถ้าหากว่า จะหายไปก็นึกไว้ระลึก
เอาไวห้รือกำหนดไว้และจับไว้หรืออะไรก็แล้ว แต่จะใช้ศัพท์อะไร แต่ให้เข้าใจว่า สภาวะเป็นอย่างนี้หน้าที่อย่างนี้เรียกว่า
สติฉะนั้น ปัญญาขาดสติไม่ไดถ้าขาดสติปัญญาก็ทำงานไม่ได้
แต่ที่นีปัญญาจะทำงานได้ดีก็อาศัยจิตที่มีสมาธิถ้ายิ่ง แน่วแน่สงบมั่นคง ก็ยิ่ง เห็น ได้ชัดเจนก็เลยมีการเปรียบเทียบอย่างนี้
ว่า .. เราจะดูอะไร มีป้ายแผ่นหนึ่งแผ่น ผ้าผืนหนึ่ง ถ้าไม่มีเชือกดึงไว้โดนลมพัดหายไปก็ไม่เห็น ถ้ามีเชือกดึงไว้ป้าย หรือ
แผ่น ผ้าหรืออะไรก็แล้วแต่กอ็ ยู่อยตู่อ่หน้าให้เราดูพออยตู่อ่หน้าให้เราดูตอนนี้มีภาพอะไรเราก็เห็น ก็เป็นอันว่า เห็น นี่ก็คือ
สติทำหน้าที่ดึงไว้ทำให้สิ่งที่จะดูนั้น อยู่แล้วก็ดูรู้เห็น ได้ฉะนั้น ปัญญาทำงานได้แต่ว่า เรื่องไม่จบเท่านั้น ถ้าหากว่า สิ่งที่อยู่
บนป้ายแผ่น ผ้านั้น เป็นภาพใหญ่ ๆ เป็นตัวหนังสือ ตัวโต ๆ ภาพอาจจะแกว่ง แต่ไม่ได้หายไป ยังดึงอยู่ ถ้าภาพใหญ่ ๆ ถึงมันจะ
แกว่ง มันก็เห็น รู้.. แต่บางที่ไม่อย่างนั้นภาพตัวหนังสือ นิดเดียวลวดลายละเอียดมาก ตอนนี้แกว่งนิดนึงไม่รู้เรื่องทำไง
ต้องให้นิ่งด้วยเพราะฉะนั้น สติไม่พอี่นคือ'สมาธิ' พอภาพนี้อยู่กับที่ได้นิ่งได้เห็นชัดเลยนี่คือสมาธิก็แปลว่า สติี้นสำคัญ
มาก ถ้าไม่มีสติปัญญาทำงานไม่ได้แต่บางครั้งสติไม่พอต้องใช้สมาธิด้วย
ก็เลยว่า 3 อันนี้เป็นตัวสำคัญที่ทำงานต้องอาศัย คือปัญญาต้องอาศัยมันน่ะ 'ปัญญา'จะทำงานได้ต้องอาศัย'สติ'ช่วยจับ
ช่วยึดงช่วยตรึงอารมณ์นั้นไวห้รือสิ่งที่จะดูจะเห็น จะพิจารณา เพื่อให้ปัญญาได้รู้แต่ว่า ปัญญาจะทำงานได้ดีก็ในจิตที่เอื้อ
คือมีสภาพที่มั่นคง สงบแน่วแน่ไม่มีอะไรรึบกวน ไม่มีอะไรวุ่นวายก็คือเปืน 'สมาธิ'อันนี้กำลังพูดถึงว่า ปัญญาทำงานต้อง
อาศัยสติและสมาธิทีนี้เรื่องปัญญาก็ชัดแล้ว
ทีนี้ก็มาดูแค่ สติกับ สมาธิ.. 'สมาธิ' ก็คือจิตที่มั่นคงหรือสงบ จิตที่สงบมั่นคงนั้น คืออะไร จิตของคนเรามันไม่ได้เลื่อนลอย
อยู่เฉย ๆ มันต้องมีอะไรมาเป็นอารมณ์จิตของเรานั้นจะต้องมีอารมณ์ .. 'อารมณ์
' หมายความว่า สิ่งที่จิตรับรู้นั่นเองเช่นรูป
เป็นสิ่งที่เป็นอารมณ์ของการเห็นเสียงเป็นอารมณ์ของการได้ยิน เป็นต้น ทีนี้ในจิตข้างใน เราก็มีสิ่งต่าง ๆ ที่เราจะนึก จะคิด
อารมณ์นี้ก็เป็นตัวสำคัญจิตของเรานี่เวลาหนังก็มีสิ่งที่เรานึกถึงอยู่แต่ว่าจิตของคนเร้านีมันไม่ได้อยู่กับสิ่งนี้สิ่งนี้อันเดียว
มันคอยจะไปเรื่อย บางที่ไปกับสิ่งที่ไม่ปรารถนาหรือไม่น่าปรารถนาอยู่นิ่งไม่ได้สิ่งนี้เราต้องการจะพิจารณาอ้าว..ไม่อยู่
แล้วไปโลดกำลังอ่านหนังสืออยคู่วรจะได้ให้จิตอยู่กับข้อ ความที่อ่านแต่ว่า มันกลับไปคิด ถึงอะไรในท้องถนน หรือเปืน
เรื่องเมื่อวานซืน หรือไปคิด ปรุงแต่ง เรื่องข้างหน้า ก็คือวา จิตนี้มันฟุ้งซ่านไม่อยู่กับที่ไม่อยู่นิ่ง ก็คือขาดสมาธิเราก็เห็นว่าถ้า
จิตขืนไปอยู่กับเรื่องนี้เหมือนกับลิง ก็เรียกว่า ฟุ้งซ่านมันก็วุ่นวายกับตัวเองด้ยทำงานก็ไม่ได้ผลจะทำงานอะไรก็จิตไป
โน่นไปนี่แล้ว ก็ไม่ได้ผลแล้ว ก็บางที่ไปคิด เรื่องไม่ควรคิด ไปหาอารมณ์ที่มันเกิดโทษก็เกิดความทุกข์ เกิดความขุ่น มัวเศร้า
หมอง ถ้าจะให้ดีก็คือวาอะไรที่มันดีมันควรจะคิดีหรือจิตมันควรจะอยู่กับอะไรก็ให้มันอยู่กับสิ่ง นั้น ได้ก็เลยว่าต้องพยายาม
ฝึก การที่จิตอยู่กับสิ่ง นั้น ได้อยู่กับสิ่ง เดียวได้นำน ๆ หรือได้เท่าที่ต้องการหรือควรจะอยู่กับสิ่งที่ต้องการได้ตามต้องการสิ่ง
ที่ไม่น่าต้องการก็ไมค่วรไปอยู่ และก็สิ่ง ใดที่ต้องการหรือน่าต้องการก็น่าจะอยู่ได้ตามที่ต้องการด้วยบางทีสิ่งที่เราต้องการมา
อยู่ได้เดียวเดียวไปแล้ว ไปอยู่กับสิ่งที่ไม่น่าต้องการก็เลยว่าทำยังไงจะให้จิตอยู่กับสิ่งที่ต้องการได้ตามต้องการก็คือวา ถ้า
มันเป็นได้จริงก็เป็นสมาธิจิตจะมาอยู่ได้อย่างนี้เราต้องฝึกตัวที่จะนำให้จิตมาอยู่ จับให้จิตมาอยู่กับสิ่งที่ต้องการได้นี่คือ
อะไร ก็คือ'สติ' ก็ตัวเมื่อกี้นี้
ทีนี้'ปัญญา'จะทำงานได้ก็ต้องอาศัย'สติ'มาจับมาดึงมาตรึงสิ่ง นั้น ..คือ'อารมณ์
'ให้ทีนี้ในการที่จะจับ แม้จะไม่ต้องใช้
ปัญญาแม่แต่เพียงจะให้จิตมันนิ่งเป็นสมาธิอยู่ได้นำน ๆ ตามต้องการให้เริ่มต้น จะให้จิตมาอยู่กับสิ่ง นั้น ก็คือต้องกำหนดจับ
ดึงระลึกไว้ก็คือว่าต้องเริ่มด้วยมีสติฉะนั้น แม้แต่การฝึกสมาธิก็ต้องเริ่มด้วยสติก็กลายเป็นว่า สมาธิอาศัยสติการฝึกสมาธิ
จึงมีชื่อต่อ ท้ายด้วยสติมีเยอะใช้ไหม เช่นอานาปานสติชื่อวิธีฝึกสมาธิแต่ชอุ่มันเป็นสติเพราะวา มันเริ่มด้วยสติเมื่อสติจับ
อยู่ได้เรื่อย ๆ จนสติเกิดต่อเนื่องอยู่กับสิ่ง นั้น ติด ๆ ไม่หลงไม่ลอยไม่เพลิดไปต่อไปสมาธิก็เกิด สติก็เป็นตัวนำสมาธิก็เลยว่า
ตอนนี้ก็เห็น ความสัมพันธ์ระหว่าง'ปัญญา' กับ 'สติ' กับ 'สมาธิ' ตอนนี้มาดูสติกับสมาธิแล้ว ใช้ไหม ก็เห็นแล้วใช้ไหมว่า เป็น
ยังไง ก็ตัวนี้เป็นตัวสำคัญในการปฏิบัติธรรมจะมี..สติสมาธิปัญญา เป็นตัวสำคัญสติเป็นตัวเริ่มให้หมดเลยนะ ปัญญาจะ
ทำงานก็อาศัยสติสมาธิก็อาศัยสติ
ต่อ ไปก็มีตัวหนึ่งที่สำ คัญเรามักจะมองข้าม ก็คือตัว 'ความเพียร'..ความก้าวไป ความไม่ถ อยของจิตใจ อันนี้เรียกว่า 'วริยะ'
หรือ'ความเพียร' เราจะมีสติเราจะมีสมาธิเราจะก้าวไปให้เกิดสมาธิได้ปัญญาเราจะพิจารณาได้ผลจริงจิตมันต้องมีกำ ลัง '
วริยะ' ก็คือความมีกำ ลังของจิต ถ้ามันหมดกำ ลังเสีย แล้ว มันก็ไมเอา ปัญญาอะไรก็ไมม่ำทั้งนั้น แหละ ก็เลยต้องมีตัววริยะ--
ความเพียรด้วย ก็เลยเพิ่ม ตัวประกอบเข้ามาอีกอันคือวิริยะ
ฉะนั้น เราจะเห็นว่าในองคม์ รรคจะมี'สัมมาวายามะ' มีความเพียร--ความเพียรชอบ และมี'สติ'แล้วก็มี'สมาธิ' เป็นองคฝ์ ่าย
จิต..และองคฝ์ ่ายปัญญาก็ไปอยู่ในสัมมาทฏิฐิสัมมาสังกัปปะอย่างเวลาเราปฏิบัติสติปัฏฐานท่านก็เรียกคำว่าความเพียรใน
่ชื่อวา 'อาตาปี'-- มีความเพียร คือวิริยะนั่นแหละ 'สัมปชาโน'--ก็ตัวปัญญารู้ก็คือสัมปชัญญะ--สัมปชัญญะก็คือชื่อหนึ่งของ
ปัญญา..แล้วก็'สติมา' คือสติ..อาตาปีสัมปชาโนสติมานี่จะพูดเป็นหลักเลย ที่นีถ้าจิตไม่มีกำลังไม่มีความเพียร มันก็เดิน
หน้าไม่ไดฉะนั้น ตัวที่เดินหน้าไปที่มันจะทำงานมันต้องมีกำลังเดินไป ก็ต้องมีวิริยะ และก็ต้องมีความรู้ซึ่งอาศัยสติ.. 3 ตัว
นี้ก็เป็นองคห์ ลักของการปฏิบัติสติปัฏฐาน ซึ่งจะช่วยแก้นิสัยของจิตที่เราเคยมีปฏิกิริยาต่อ สิ่งทั้งหลายตามเวทนาทีว่าสุขก็
ชอบใจยนิดีถ้าทุกขก์ ไมช่อบใจยนิร้ายแต่พอสติมาก็ไปตัดอันนี้ได้ก็อยู่แค่'รู้' ก็ได้สิ่งที่จะไว้ระลึกไว้ใช้ต่อไป ก็ไม่มีัปญหา
แล้วต่อไปเมื่อตัวที่เคยปรุงแต่ง ไว้ไมม่ำเคลื่อนคลุมสิ่งเหล่านี้ไม่มาระบายป้ายสีสิ่งเหล่านั้น ก็เปิดเผยตัวแล้วเราก็ค่อยๆ เห็น
ไปเรื่อย ๆ อันั้นน ก็จะเป็นไปเองท่านเรียกว่า เมื่อทำเหตุปัจจัยถูกต้องแล้วไม่ต้องเรียกร้องมันมาเอง นี่ก็เป็นเรื่องของสติพูด
ถึงเรื่องสติ๊ก็เลยโยงไปหาสมาธิและปัญญาด้วย
เรื่องความคิด .. 'ความคิด ' ก็เป็นเรื่องของคำ ที่ยังกำ กวมอยู่เหมือนกัน เพราะวา ความหมายไม่ชัด อย่างในอภิธรรมก็ว่า จิต
คือสภาวะที่คิด คำ ว่า 'คิด ' เป็นคำ ในภาษาไทยที่ไม่ชัดเจนก็ต้องระวัง ก็เลยทำ ให้เวลาพูดแล้ว เป็นปัญหา บางสำ นักถึงกับ
บอกไม่ให้คิด เอาแต่'รู้' ก็เลยต้องแยกให้ดี'คิด ' นี่เรามักจะหมายถึงสังขาร--กระบวนการปรุงแต่ง ก็คือว่า เวลา 'คิด ' มันจะมี
องค์ประกอบคือมี'ข้อมูล' ก็คือสัญญา และมี'เจตนา' ความตั้งใจมุง่ หมาย แล้ว ก็มี'ตัวปรุงเเตง่ ' เช่น ว่า คิด อยากจะได้อยาก
จะเอา ก็ค ดิ สนองความอยากจะได้อยากจะเอา ถ้าอยากทำ ร้ายโกรธก็ค ดิ สนองความโกรธ ความคิด มักจะมีตัวปรุงเเตง่ นี้อยู่
แล้ว ก็ที่สนองการปรุงแต่งอย่างนี้เพราะมีตัว 'เวทนา'--ความรู้สึกอยู่เบื้องหลัง ที่ว่า รู้สึกสบายสุขก็เลยอยากจะได้สิ่งที่จะทำ ให้
เกิดความสุข หรือถ้าสิ่ง นั้น จะทำ ให้เกิดความทุกขก์ หาทางหนีมันปนกันอยู่ห่ มด ดังนั้น จากกระบวนการความคิด ก็เลยโยง
ไปหาเวทนา สัญญา สังขาร แตค่วามคิด แบบนี้ท่านเรียกว่า 'คิด ปรุงแต่ง ' คิด แบบมีตัวปรุง--มีโลภะ โทสะ โมหะ มาปรุงแต่ง
ทีนี้มีการคิดอีกอย่างหนึ่งคือการเดินของปัญญา การเดินจิตไปตามกระบวนการของปัญญา การคิด แบบนี้ไม่เรียกว่า การคิด
ปรุงแต่ง ก็เป็นการคิด เหมือนกันแต่ว่าถ้าเราไม่อธิบายแล้ว ไม่แยกออกไปก็สับสน จะไปปนกับความคิด แบบที่ว่า เมื่อีก้ก็เลย
มีให้แยกว่า มีการคิด 2 แบบนะอย่างหนังก็คือการคิด ปรุงแต่ง มเรื่องเวทนาอาจจะมาเป็นเป้าหมาย หรือมาเป็นตัวที่ทำให้
จุดเริ่มต้น มีเวทนาอย่างนี้ก็เลยคิดอย่างนั้น ได้เวทนาเป็นสุขก็เกิดชอบใจ กระบวนการคิด ก็ต้องเอามาพอเวทนาไม่ส บายก็
ชังยนิร้ายก็คดิไปตามกระบวนการที่ชังยนิร้ายว่าจะต้องหนีจะต้องทำลายจะตองอะไรกับมันอย่างี้นฉะนั้น การคิดอย่างนี้
เรียกว่า คิด ปรุงแต่ง .. ที่นีถ้าคิด ดูตามเป็นจริงให้ปัญญามันเดิน การคิดอย่างนี้ไม่มีปัญหาไม่เกิดปัญหาทางจิตใจ-- 'การคิด
เชิงปัญญา' เหมอื่น้อยางพระพุทธเจ้าตอนที่จะตรัสรู้พระองคก์ ถามพระองค์เอง เมื่อมีสภาวะจิตอันนี้เกิดขึ้น พระองคก์ ถาม
พระองค์เองว่า สภาวะจิตแบบนี้เกิดขึ้นเพราะอะไร เมื่อสภาวะจิตอะไรเกิดก่อ นและสภาวะจิตอะไรตาม พระองคก์ ต็รวจสอบดู
ความเป็นไปของจิตแล้ว ก็มองเห็นว่าเพราะไอ้เจ้านั่นมีเจ้านี่จึงมีแล้ว ก็พอเจอเก็จ้าตัวนั้น ที่มีขึ้นได้เพราะอะไรมีก็สังเกตต่อ
ไปก็เจอเพราะเจ้านั่นมีเจ้านี่จึงม่อยางนี้ก็เป็นกระบวนการคิด เหมือนกันแต่คดิเชิงปัญญา เรียกว่า 'โยนิโสมนสิการ'--เดินจิตให้ถูก ก็อยู่ที่เราจะใช้คำ ว่า'คิด ' โดยเป็นบัญญัติให้สื่อ ความหมายที่เป็นสภาวะอะไร ถ้าเข้าใจแบบนี้ก็จะหมดปัญหา แต่ว่า ให้เข้าใจว่าอย่างน้อยให้แยกความคิด เป็น 2 แบบคือ'คิด ปรุงแต่ง ' กับ 'คิด เชิงปัญญา' ครบหรือยังที่ถาม .. ครบแล้วนะ
ที่นีจะถามีอะไรต่อ ..
พระ : เรื่องสมาธินี่ก็มีส่วนสำคัญทำให้เกิดปัญญา ใช้ไหมครับ
ท่านสมเด็จฯ : สมาธิเป็นตัวสำคัญหมายความว่า เป็นตัวที่ทำให้จิตพร้อมจะใช้งาน ซึ่งหมายถึงงานสำคัญก็คืองานปัญญา
พระ : เท่าทีที่ราบ เหมือนกับมีบางคนไปยึดติดกับสิ่งที่ได้จากสมาธิคือฌาน ซึ่งฌานที่ปรากฏขึ้นมานี้อยากให้ท่านช่วย
อธิบายขยายความว่ามีผลดีผลเสียต่อการเกิดปัญญามากน้อยอย่างไรครับ
ท่านสมเด็จฯ : เราต้องเข้าใจก่อนว่าสมาธิมีประโยชน์อย่างไรเมื่อเกิดขึ้นแล้ว มีผลดอย่างไรบ้าง จิตที่มีสมาธิมีลักษณะ
อาการอย่างไรอันหนังก็คือวา แน่วแน่ เป็นลักษณะที่สำคัญ.. จิตอยู่กับสิ่งเดียวอยู่กับสิ่งที่ต้องการได้ตามต้องการทีนี้พอ
จิตอยู่กับสิ่ง นั้นแล้วจิตไม่ถูกอะไรมากวนและไม่พล่านเดินแน่วไปในเรื่องอะไรก็แน่วไป เรียกว่าเกิดกำลัง ในแง่นี้ก็เลย
เปรียบเทียบว่า เหมือนกับเอาน้ำมาถังหนึ่งแล้ว เก็อาขึ้นไปบนเนิน มี 2 วิธี..วิธีหนังก็สาดโครมไม่มเป้าหมาย ปรากฏว่า น้ำ
ทั้งถังนี้หายไปหมดไม่มีความหมาย... อีกวิธีหนังก็คือมรี่องมีทางแล้ว ก็เท้นำลงร่องลงท่อ ปรากฏว่า น้ำลงท่อมีกำลังไหล
แรงผ่านอะไร่ตออะไรอาจจะมีกำลังพาพัดไปได้ท่านเก็อามาใช้เปรียบเทียบกับสมาธิ
ลักษณะหรือคุณค่า อย่างหนึ่งของสมาธิก็คือ (1) 'มีพลัง' ขณะจิตเป็นสมาธิก็มีกำ ลัง เพราะแน่วไปทางเดียว อันนี้ประโยชน์ที่
หนึ่ง นี่แหละจะเอามาใช้ในทางสร้างฤทธิ์ส่ร้างอะไรพวกนี้..
(2) ทีนี้สอง สภาพจิตที่เป็นสมาธินี่ไม่มีอะไร อื่นกวน คืออยู่
กับอะไรก็อยู่อย่างเดียว คนเรานี่มีสิ่งที่เข้ามาคิด เยอะอย่างที่บอกเมื่อีก้เดียวไปนู่นไปนี่เหมือนกับในน้ำมีฝุ่นละอองพล่า น
ไปพล่า นมาเราก็เรียกว่า น้ำขุน่ ก็คือว่า น้ำขุน่ มีเศษละอองเยอะแล้ว ก็พ ล่า นไปพล่า นมา ถ้าเราจะมองอะไรสกอย่างในนน เศษ
เล็กเศษน้อยพวกนี้พล่านไปพล่านมาก็บัง แล้ว ก็เห็น นิดนึงแล้ว ก็ถูกับงอีก ทีนี้ถ้าหากเราสามารถทำ ให้เศษเล็กเศษน้อยเหล่า
นั้น สงบไม่เข้ามากวน เราต้องการดูอะไรก็ดูสิ่ง นั้น ไม่มีอะไรบงก็เห็น ชัดเพราะฉะนั้น จิตที่เป็นสมาธิก็มีคุณสมบัติอีกอย่าง
ท่านเปรียบเหมือนกับน้ำที่ใส จะมองเห็น หมด เห็น กรวด ปูปลา อะไรว่ายอยู่ในนน ก็เห็น อันนี้เป็นคุณสมบัติที่สองของจิต
นี่แหละเอื้อต่อ ปัญญา ปัญญาจะทำงานก็คือจะรู้อะไรตามที่เป็นตามเป็นจริง ในเมือจิตไม่วุน่วายไม่มีอะไรหลายอย่างมาบัง
ก็เห็น ชัดไปเลย พิจารณาดูแงไหนก็ชัด และนี่ก็คือประโยชน์ที่สองของสมาธิ--ทำ ให้'จิตใส' มองเห็น ชัดเจนเอื้อต่อ ปัญญา
ต่อ ไป (3) เมื่อจิตเป็นสมาธิไม่มีอะไรกวน สิ่งที่เรามานึกมาคิด มาเห็น มาระลึกแล้ว ไม่ส บาย ทำ ให้เกิดความยั่วยุ ความโกรธ
ฯลฯ พอจิตไปอยู่กับสิ่งที่เราได้พิจารณาแล้วว่า ดีก็ให้จิตอยู่กับสิ่ง นั้น ก็ไมก่อ่ ให้เกิดความวุน่วาย จิตใจก็ไมถู่กรบกวน เมื่อ
จิตใจไม่ถูกรบกวนไม่วุน่วายก็สงบ ก็สุข ก็ได้ความสงบและความสุข .. ก็ได้ลักษณะที่ 3 คือมี'ความสงบสุข
อันนี้สามอย่างนี่ต้องเอามาใช้ร่วมกัน ทีนี้ถ้าไปใช้แยกกัน บางคนก็ไปติดในสุข พอได้อัปปนาสมาธิจิตมันสงบสบาย ก็ไมเอา
แล้ว แทนที่จะไปพิจารณาอะไรทั้งที่จิตมันเอื้อแล้ว ที่จะมองพิจารณา เห็น อะไรก็ไมเอา เก็อาแคค่วามสุขสงบแล้ว ก็ติด ก็
เหมอื่น้อยางฤๅษีที่ได้ฌำน ฌาน--เป็นพวกสมาธิเป็นฝ่ายจิตอย่างเดียว ถ้าเป็นฝ่ายปัญญาเรียกว่า --ญาณ
'ญาณ' เป็นฝ่ายปัญญา .. 'ฌาน' เป็นฝ่ายจิต จิตที่เป็นสมาธิก็มีความสงบแน่วแน่ลึกซึ้งต่างระดับกัน พอจิตเริ่มถึงความสงบ
แน่วสนิทอยู่กับสิ่ง เดียวได้ตอนนี้เรียกว่า 'อัปปนาสมาธิ' เป็นอัปปนาสมาธินี้ท่านเรียกว่า ถึง 'ฌาน' .. ฌานก็จะมีการก้าวไป
ละเอียดยิ่ง กว่า กัน ฌานที่หยาบกว่า ก็เรียก ฌานชั้น ที่ 1 มีองค์ประกอบที่ยังต้องช่ี้วยจิตเพื่อจะให้จิตมีคุณสมบัติหลายอย่าง
หน่อย พอละเอียดขึ้นไปตัวที่ช่วยพยุงไม่ต้องใช้แล้ว ทิ้งไป ก็สงบปราณีตยิ่ง ขึ้น ก็จะลงตัวยิ่ง ขึ้นจนกระทั่งจิตสงบดิ่งแน่ว
ลงตัวที่สุด ท่านเรียกว่า 'จตุตถฌาน'-- ฌานที่ 4 มีแต่อุเบกขา กับ เอกัคคตา..เอกัคคตา--ก็คือสภาพจิตที่แน่วอยู่กับสิ่ง เดียว
นั้น ที่ต้องการแล้ว ก็อุเบกขา--สภาพจิตที่ลงตัวอยู่ตั่ว ได้ดุลมีความสมดุลจริง ๆ .. นี่ก็เป็นเรื่องของจิต
สภาพจิตอย่างนี้ถ้ามองในแงสุ่ขก็สุขมาก พวกฤๅษีจะได้ฌำนได้อะไรก็มีความสุขแตไมเอาไปใช้ทางปัญญา พอสบายแล้ว ทีนี้
ก็เล่นฌานเรียกว่า 'ฌานกีฬา' ฤๅษีเก่ง ๆ ก็จะมายุ่ง กับฌานกีฬาเล่นฌานมีความสุข ไม่ต้องทำอะไรเล่น ฌานไปแต่ละวันมีความสุขดีไม่ยุ่ง กับใคร ไม่ยุ่งเกี่ยวกับโลกภายนอก ตัดขาดจากสังคม นาน ๆ ที่เก็ข้าเมืองที่ไปหาเกลือของเค็มอะไรนี้มา
ช่วยในการประกอบอาหารบ้าง ตัวเองได้ตัดขาดจากสังคมก็กินเผือกกินมันไป นี่แหละพระพุทธเจ้าก็ไปเข้าสำนักพวกนี้มา
ก่อนพวกโยคีอาฬารดาบสกาลามโคตรอุทกดาบสรามบุตร เมื่อไปถึงสำนักอาฬารดาบสกาลามโคตรพระพุทธเจ้าก็ได้ถึง
อรูปฌานที่ 3-- อากิญจัญญายตนะฌานแล้วกออกไปในสำนักอุทกดาบสรามบุตรก็ได้ถึงอรูปฌานที่ 4-- เนวสัญญานา
สัญญายตนะ พระองคก์ เห็นว่า ไม่ใช้ทางที่ถูกต้องก็เลยออกไปค้น คว้าของพระองคต์ อ่ก็เห็นว่าที่แที่ต้องเอาสมาธิซึ่งสมาธิที่
ลึกซึ้งก็คือในฌาน เอามาเป็นฐานของปัญญา คือการก้าวต่อท่านเรียกว่า เอาฌานี้เป็นบาทแห่งวปิัสสนา นี่คือความเชื่อมต่อ
ระหว่างสมาธิกับปัญญา
'ฌาน' ก็คือสภาพจิตที่เป็นสมาธิที่ลึกซึ้งมากแล้ว ระดบบัต่าง ๆแล้ว แต่ว่า จะชั้น ไหน และ'วปิัสสนา' ก็คือปัญญาที่รู้เข้าใจ
ความจริงของสภาวะของสิ่งทั้งหลาย ที่เป็นรูปธรรมนามธรรม รู้โลกรู้ชีวิต เก็อาฌานมาเป็นบาทแกว่ ปิัสสนา เป็นอย่างนี้ก็
คือการก้าวจากการที่มีสมาธิเฉย ๆ แล้ว ไปติดอยู่กับความสุข ก็เลยเอาสมาธิในความหมายที่ว่า ทำ ให้จิตพร้อมจะใช้งานได้
เรียกว่า 'กัมมนิยะ' มาเป็นฐานแก่ปั่ญญาต่อ ไป ตกลงว่า ตอนนี้เราก็ใช้คุณสมบัติของจิตทั้ง 3 ด้าน ทั้งในแงที่เป็น 'ความมี
พลัง' มีกำ ลังมาประคองให้ความรู้ปัญญาเดินได้ดีแล้ว ก็'ความสงบ' แน่นอนจิตสงบไม่ถูกรบกวนก็ทำงานได้ดีปัญญาก็เดิน
ได้ดีแล้ว 'ใส' ก็มาช่วยเอื้อเก็อา 3 อย่างนี้มาประสาน ก็เป็นคุณสมบัติประโยชน์ของสมาธิ